วันอังคารที่ 18 ธันวาคม 2555
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องด้วยอาจารย์ติดธุระ
อาจารย์มอบหมายงานให้ทำให้เสร็จ
แฟ้มสะสมงานรายวิชาการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
วันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6
วันอังคารที่ 11 ธันวาคม 2555
อาจารย์สอนเรื่อง
ส่งงานเขียนแผน
อาจารย์ให้นำกล่องมาคนละ1กล่อง เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร
-รูปทรง
-งานประดิษฐ์
-ใส่ของ
-ทำของเล่น
กล่องสามารถนำมาแทนอุปกรณ์ในการทำสื่อได้
หน่วยเรื่อง กล่อง
รูปทรงและเนื้อที่- สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความลึกตื้น
ขนาด- ใหญ่ กลาง เล็ก สั้น ยาว
การจัดประเภท- จัดประเภทกล่องที่มีสีแดงและกล่องที่ไม่มีสีแดง
การวัด- น้ำหนัก เป็นเครื่องมือในการวัด
การนับ- นับกล่องทั้งหมด
เศษส่วน- กล่องที่เด็กนำมาทั้งหมด กล่องที่ใส่ของกินได้8 กล่อง ของทั้งหมด แบ่งครึ่ง
การจับคู่
การเปรียบเทียบ- ขนาด
เซต- จัดเซตของขวัญ
การทำตามแบบ- การเรียงแบบอนุกรม
การอนุรักษ์
อาจารย์ให้จับกลุ่ม 10 คนทำกิจกรรมให้นำกล่องที่เตรียมมาของแต่ละคนมาต่อกันโดยไม่ได้มีการวางแผน แล้วอาจารย์ให้ทำใหม่เป็นให้ทุกคนวางแผนว่าจะทำอะไรกลุ่มของดิฉันทำเป็นรถถัง
ให้ทุกกลุ่มนำชิ้นงานมาจัดให้เป็นเรื่องเดียวกัน
*งาน*
ให้หางานวิจัยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ให้ตัดแกนกระดาษทิชชูทำดอกไม้
อาจารย์สอนเรื่อง
ส่งงานเขียนแผน
อาจารย์ให้นำกล่องมาคนละ1กล่อง เห็นกล่องแล้วนึกถึงอะไร
-รูปทรง
-งานประดิษฐ์
-ใส่ของ
-ทำของเล่น
กล่องสามารถนำมาแทนอุปกรณ์ในการทำสื่อได้
หน่วยเรื่อง กล่อง
รูปทรงและเนื้อที่- สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความลึกตื้น
ขนาด- ใหญ่ กลาง เล็ก สั้น ยาว
การจัดประเภท- จัดประเภทกล่องที่มีสีแดงและกล่องที่ไม่มีสีแดง
การวัด- น้ำหนัก เป็นเครื่องมือในการวัด
การนับ- นับกล่องทั้งหมด
เศษส่วน- กล่องที่เด็กนำมาทั้งหมด กล่องที่ใส่ของกินได้8 กล่อง ของทั้งหมด แบ่งครึ่ง
การจับคู่
การเปรียบเทียบ- ขนาด
เซต- จัดเซตของขวัญ
การทำตามแบบ- การเรียงแบบอนุกรม
การอนุรักษ์
อาจารย์ให้จับกลุ่ม 10 คนทำกิจกรรมให้นำกล่องที่เตรียมมาของแต่ละคนมาต่อกันโดยไม่ได้มีการวางแผน แล้วอาจารย์ให้ทำใหม่เป็นให้ทุกคนวางแผนว่าจะทำอะไรกลุ่มของดิฉันทำเป็นรถถัง
ให้ทุกกลุ่มนำชิ้นงานมาจัดให้เป็นเรื่องเดียวกัน
*งาน*
ให้หางานวิจัยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
ให้ตัดแกนกระดาษทิชชูทำดอกไม้
วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5
วันอังคารที่ 4 ธันวาคม 2555
อาจารย์สอนเรื่อง
นำเสนองานความเรียงของแต่ละกลุ่ม
*งาน ให้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ในหน่วยของแต่ละกลุ่ม โดยแบ่งคนละวัน
อาจารย์สอนเรื่อง
นำเสนองานความเรียงของแต่ละกลุ่ม
*งาน ให้เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ในหน่วยของแต่ละกลุ่ม โดยแบ่งคนละวัน
วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4
วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน 2555
อาจารย์สอนเรื่อง
- นำเสนองานของแต่ละกลุ่ม
หน่วย กล้วย
การนับ-กล้วยในตะกร้ามีกี่ลูก
ตัวเลข-หยิบตัวเลขฮินดูอาราบิกมาติดที่หวีของกล้วย
การจับคู่-จับคู่กล้วยหอมเล็กกับเล็ก ใหญ่กับใหญ่
การจัดประเภท-หยิบกล้วยหอมที่มีสีเหลืองใส่ตะกร้า
การเปรียบเทียบ-กล้วยผลที่หนึ่งกับผลที่สองผลใดใหญ่กว่ากัน
การจัดลำดับ-เรียงกล้วยที่มีขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่
รูปทรง-ตัดต้นกล้วยที่มีรูปทรงวงกลม มาทำกระทง
การวัด-ให้เด็กๆวัดผลกล้วยโดยใช้ไม้บรรทัด
เซต-จัดเซตอุปกรณ์ทำกล้วยบวชชี
เศษส่วน-กล้วยหนึ่งหวี เเบ่งครึ่งเท่าๆกันให้กับเด็กสองคน
การทำตามเเบบ-วาดภาพต่อเติมต้นกล้วยจากที่ครูกำหนด
การอนุรักษ์-กล้วยฉาบเเบ่งใส่ขวดโหล กล้วยกวนเเบ่งใส่กล่อง
หน่วย นาฬิกา
การเปรียบเทียบ- นาฬิกาข้อมือกับนาฬิกาตั้งโต๊ะอันไหนใหญ่กว่ากัน
การวัด- นาฬิกาทรายมีน้ำหนักเท่าไร
หน่วย บ้าน
การนับ- บ้านหลังนี้มีหน้าต่างกี่บาน
ตัวเลข- บ้านเธอ บ้านเลขที่เท่าไร
การเปรียบเทียบ- บ้านของเพื่อนใหญ่กว่าบ้านของฉัน
การจัดลำดับ- ตอนเช้าฉันทำความสะอาดห้องน้ำแล้วหลังจากนั้นก็ไปทำความสะอาดห้องน้ำ
การวัด- บ้านของฉันห่างจากบ้านเพื่อน 50ก้าว
เซต- ให้เด็กๆจัดชุดของกาแฟมา 1 ชุด
หน่วย แมลง
การจัดประเภท- จัดประเภทที่มีสีแดงของแมลงที่เหมือนกัน
การเปรียบเทียบ- แมลงปอใหญ่กว่าแมลงเต่าทอง
เซต- เซตของอุปกรณ์จับแมลง
เศษส่วน- แมลง 10 ตัว แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน
การทำตามแบบหรือลวดลาย- ให้เด็กๆสังเกตภาพมาต่อเป็นจิกซอ
หน่วย กุหลาบ
การนับ- เด็กลองบอกครูสิว่าในช่อ 1 มีกี่ดอก
การจับคู่- ให้เด็กๆจับคู่ภาพดอกกุหลาบที่มีจำนวนเท่ากัน
การจัดลำดับ- ให้เด็กๆเรียงลำดับขนาดของดอกกุหลาบจากเล็กไปใหญ่
การจัดประเภท- ให้เด็กๆจัดประเภทของดอกกุหลาบที่มีสีแดงอยู่ในตะกร้าเดียวกัน
เซต- จัดเซตของการจัดช่อดอกกุหลาบ 1 ช่อ
รูปร่างและเนื้อที่- แปลงกุหลาบ1แปลง ปลูกกุหลาบได้กี่ต้น
หน่วย ยานพาหนะ
การนับ-รถคันนี้มีล้อกี่ล้อ
ตัวเลข- ฉันขึ้นรถสาย 206
การจับคู่- ให้เด็กๆจับคู่ภาพจำนวนหมวกกันน็อคที่เท่ากับจำนวนคนนั่งมอไซค์
หน่วย ขนม
การนับ- การนับจำนวนชิ้นของขนม
ตัวเลข- ตัวเลขแทนค่าจำนวนขนมที่อยู่ในถาด
การจับคู่- จับคู่จำนวนขนมที่มีรูปร่างเหมือนกัน
การจัดประเภท- ให้เด็กๆแยกขนมที่นิ่มออกมาใส่จาน
การเปรียบเทียบ- ให้เด็กๆเปรียบเทียบขนาดของขนม เล็กไปใหญ่
อาจารย์สอนเรื่อง
- นำเสนองานของแต่ละกลุ่ม
หน่วย กล้วย
การนับ-กล้วยในตะกร้ามีกี่ลูก
ตัวเลข-หยิบตัวเลขฮินดูอาราบิกมาติดที่หวีของกล้วย
การจับคู่-จับคู่กล้วยหอมเล็กกับเล็ก ใหญ่กับใหญ่
การจัดประเภท-หยิบกล้วยหอมที่มีสีเหลืองใส่ตะกร้า
การเปรียบเทียบ-กล้วยผลที่หนึ่งกับผลที่สองผลใดใหญ่กว่ากัน
การจัดลำดับ-เรียงกล้วยที่มีขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่
รูปทรง-ตัดต้นกล้วยที่มีรูปทรงวงกลม มาทำกระทง
การวัด-ให้เด็กๆวัดผลกล้วยโดยใช้ไม้บรรทัด
เซต-จัดเซตอุปกรณ์ทำกล้วยบวชชี
เศษส่วน-กล้วยหนึ่งหวี เเบ่งครึ่งเท่าๆกันให้กับเด็กสองคน
การทำตามเเบบ-วาดภาพต่อเติมต้นกล้วยจากที่ครูกำหนด
การอนุรักษ์-กล้วยฉาบเเบ่งใส่ขวดโหล กล้วยกวนเเบ่งใส่กล่อง
หน่วย นาฬิกา
การเปรียบเทียบ- นาฬิกาข้อมือกับนาฬิกาตั้งโต๊ะอันไหนใหญ่กว่ากัน
การวัด- นาฬิกาทรายมีน้ำหนักเท่าไร
หน่วย บ้าน
การนับ- บ้านหลังนี้มีหน้าต่างกี่บาน
ตัวเลข- บ้านเธอ บ้านเลขที่เท่าไร
การเปรียบเทียบ- บ้านของเพื่อนใหญ่กว่าบ้านของฉัน
การจัดลำดับ- ตอนเช้าฉันทำความสะอาดห้องน้ำแล้วหลังจากนั้นก็ไปทำความสะอาดห้องน้ำ
การวัด- บ้านของฉันห่างจากบ้านเพื่อน 50ก้าว
เซต- ให้เด็กๆจัดชุดของกาแฟมา 1 ชุด
หน่วย แมลง
การจัดประเภท- จัดประเภทที่มีสีแดงของแมลงที่เหมือนกัน
การเปรียบเทียบ- แมลงปอใหญ่กว่าแมลงเต่าทอง
เซต- เซตของอุปกรณ์จับแมลง
เศษส่วน- แมลง 10 ตัว แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน
การทำตามแบบหรือลวดลาย- ให้เด็กๆสังเกตภาพมาต่อเป็นจิกซอ
หน่วย กุหลาบ
การนับ- เด็กลองบอกครูสิว่าในช่อ 1 มีกี่ดอก
การจับคู่- ให้เด็กๆจับคู่ภาพดอกกุหลาบที่มีจำนวนเท่ากัน
การจัดลำดับ- ให้เด็กๆเรียงลำดับขนาดของดอกกุหลาบจากเล็กไปใหญ่
การจัดประเภท- ให้เด็กๆจัดประเภทของดอกกุหลาบที่มีสีแดงอยู่ในตะกร้าเดียวกัน
เซต- จัดเซตของการจัดช่อดอกกุหลาบ 1 ช่อ
รูปร่างและเนื้อที่- แปลงกุหลาบ1แปลง ปลูกกุหลาบได้กี่ต้น
หน่วย ยานพาหนะ
การนับ-รถคันนี้มีล้อกี่ล้อ
ตัวเลข- ฉันขึ้นรถสาย 206
การจับคู่- ให้เด็กๆจับคู่ภาพจำนวนหมวกกันน็อคที่เท่ากับจำนวนคนนั่งมอไซค์
หน่วย ขนม
การนับ- การนับจำนวนชิ้นของขนม
ตัวเลข- ตัวเลขแทนค่าจำนวนขนมที่อยู่ในถาด
การจับคู่- จับคู่จำนวนขนมที่มีรูปร่างเหมือนกัน
การจัดประเภท- ให้เด็กๆแยกขนมที่นิ่มออกมาใส่จาน
การเปรียบเทียบ- ให้เด็กๆเปรียบเทียบขนาดของขนม เล็กไปใหญ่
วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3
วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน 2555
อาจารย์สอนเรื่อง
- เพลงที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ที่เพื่อนนำเสนอ
โป เล่ โป เล่ โป ลา โป ลา โป ลา โบ เล่
เด็กน้อยยืนสองเเขนมา มือ ซ้าย ขวา ทำคลื่นทะเล
ปลาวาฬพ่นน้ำเป็นฝอย ปลาเล็ก ปลาน้อย ว่ายตามกันมา
ปลาวาฬนับ 1 2 3 ใครไหว้ตามปลาวาฬจับตัว
จากเนื้อเพลงได้คณิตศาตร์ในเรื่องซ้ายขวา(ตำแหน่ง) การนับตัวเลขปากเปล่า
-นำเสนองาน
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วย(นิตยา ประพฤติกิจ.2541:17-19)ดังต่อไปนี้
1.การนับ(Counting) การนับตามลำดับตั้งแต่ 1-10 หรือมากกว่านั้น
2.ตัวเลข(Number) เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน
3.การจับคู่(Matching) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลักษณะต่างๆเช่น จับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกัน
4.การจัดประเภท(Classification) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ
5.การเปรียบเทียบ(Comparing) เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่าเช่น ยาวกว่า สั้นกว่า
6.การจัดลำดับ(Ordering) เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดๆหนึ่งตามคำสั่งหรือตามกฏเช่น จัดบล็อก 5 แท่ง ที่มีความยาวไม่เท่ากัน
7.รูปทรงและเนื้อที่(Shape and Space) นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรุปทรงและเนื้อที่จากการเล่นตามปกติ ครูยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความลึกตื้น กว้างและแคบ
8.การวัด(Measurement) ให้รู้จักความหมายและระยะ รู้จักการชั่ง น้ำหนักและการประมาณอย่างคร่าวๆ
9.เซต(Set) เป็นการจัดกลุ่ม
10.เศษส่วน (Fraction)
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย(Patterning) ลวดลายและพัฒนาการการจำแนกด้วยสายตา ให้เด็กฝึกสังเกตตามแบบและต่อให้สมบรูณ์
12.การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ(Conservation) ช่วงวัย5ขวบ ให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง การอนุรักษ์ที่ว่าปริมาณของวัตถุจะต้องคงที่ไม่ว่าจะย้ายหรือทำ
เยาวพา เดชะคุปต์(2542:87-88) ได้เสนอการสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่
1.การจัดกลุ่มหรือเซต สิ่งที่ควรสสอนได้แก่ การจับคู่ 1:1 การจับคู่สิ่งของ
2.จำนวน1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
3.ระบบจำนวน
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
5.คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6.ลำดับ
7.การวัด ได้แก่ การวัดสิ่งเป็นของเหลว สิ่งของ เงินตรา อุณหภูมิ
8.รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ การเปรียบเทียบ รูปร่าง ขนาด ระยะทาง
9.สถิติและกราฟ ได้แก่ การศึกษาจากการบันทึก ทำแผนภูมิ การเปรียบเทียบต่างๆ
ได้เวลาตื่นนอนหรือยังนะ?
มันยังมืดตึ๊ดตื่ออยู่เลย....ต๊องหน่อง
พี่ชายฉัน ตื่นนอนหรือยังเอ่ย? (เรื่องเวลา)
จัดเก็บเสื้อผ้าและใส่ตู้ให้ถูกที่ (การจัดประเภท)
ไปซื้อของ/นับจำนวนเครื่องกระป๋อง
เปรียบเทียบขนาดขนมปังใหญ่หรือเล็ก?(การนับจำนวน การเปรียบเทียบ ค่าของเงิน)
อาจารย์สอนเรื่อง
- เพลงที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ที่เพื่อนนำเสนอ
โป เล่ โป เล่ โป ลา โป ลา โป ลา โบ เล่
เด็กน้อยยืนสองเเขนมา มือ ซ้าย ขวา ทำคลื่นทะเล
ปลาวาฬพ่นน้ำเป็นฝอย ปลาเล็ก ปลาน้อย ว่ายตามกันมา
ปลาวาฬนับ 1 2 3 ใครไหว้ตามปลาวาฬจับตัว
จากเนื้อเพลงได้คณิตศาตร์ในเรื่องซ้ายขวา(ตำแหน่ง) การนับตัวเลขปากเปล่า
-นำเสนองาน
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยศึกษาควรประกอบด้วย(นิตยา ประพฤติกิจ.2541:17-19)ดังต่อไปนี้
1.การนับ(Counting) การนับตามลำดับตั้งแต่ 1-10 หรือมากกว่านั้น
2.ตัวเลข(Number) เป็นการให้เด็กรู้จักตัวเลขที่เห็นหรือใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน
3.การจับคู่(Matching) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตลักษณะต่างๆเช่น จับคู่สิ่งที่เข้าคู่กัน เหมือนกัน
4.การจัดประเภท(Classification) เป็นการฝึกฝนให้เด็กรู้จักการสังเกตคุณสมบัติของสิ่งต่างๆ
5.การเปรียบเทียบ(Comparing) เด็กจะต้องมีการสืบเสาะและอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่งหรือมากกว่าเช่น ยาวกว่า สั้นกว่า
6.การจัดลำดับ(Ordering) เป็นเพียงการจัดสิ่งของชุดๆหนึ่งตามคำสั่งหรือตามกฏเช่น จัดบล็อก 5 แท่ง ที่มีความยาวไม่เท่ากัน
7.รูปทรงและเนื้อที่(Shape and Space) นอกจากให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องรุปทรงและเนื้อที่จากการเล่นตามปกติ ครูยังต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า ความลึกตื้น กว้างและแคบ
8.การวัด(Measurement) ให้รู้จักความหมายและระยะ รู้จักการชั่ง น้ำหนักและการประมาณอย่างคร่าวๆ
9.เซต(Set) เป็นการจัดกลุ่ม
10.เศษส่วน (Fraction)
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย(Patterning) ลวดลายและพัฒนาการการจำแนกด้วยสายตา ให้เด็กฝึกสังเกตตามแบบและต่อให้สมบรูณ์
12.การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ(Conservation) ช่วงวัย5ขวบ ให้เด็กลงมือปฏิบัติจริง การอนุรักษ์ที่ว่าปริมาณของวัตถุจะต้องคงที่ไม่ว่าจะย้ายหรือทำ
เยาวพา เดชะคุปต์(2542:87-88) ได้เสนอการสอนคณิตศาสตร์แนวใหม่
1.การจัดกลุ่มหรือเซต สิ่งที่ควรสสอนได้แก่ การจับคู่ 1:1 การจับคู่สิ่งของ
2.จำนวน1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
3.ระบบจำนวน
4.ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ
5.คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6.ลำดับ
7.การวัด ได้แก่ การวัดสิ่งเป็นของเหลว สิ่งของ เงินตรา อุณหภูมิ
8.รูปทรงเรขาคณิต ได้แก่ การเปรียบเทียบ รูปร่าง ขนาด ระยะทาง
9.สถิติและกราฟ ได้แก่ การศึกษาจากการบันทึก ทำแผนภูมิ การเปรียบเทียบต่างๆ
ได้เวลาตื่นนอนหรือยังนะ?
มันยังมืดตึ๊ดตื่ออยู่เลย....ต๊องหน่อง
พี่ชายฉัน ตื่นนอนหรือยังเอ่ย? (เรื่องเวลา)
จัดเก็บเสื้อผ้าและใส่ตู้ให้ถูกที่ (การจัดประเภท)
ไปซื้อของ/นับจำนวนเครื่องกระป๋อง
เปรียบเทียบขนาดขนมปังใหญ่หรือเล็ก?(การนับจำนวน การเปรียบเทียบ ค่าของเงิน)
วันพุธที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่2
วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน 2555
อาจารย์สอนเรื่อง
-ให้วาดรูปสัญลักษณ์ของแต่ละคน
วาดแล้วได้อะไรบ้าง-รูปทรง เส้น ขนาด จำแนกประเภท มิติสัมพันธ์
-ฟังเพลงแมลงปอ 5ตัว
ฟังเพลงแล้วได้รุ้ค่าของจำนวนและทิศทาง นำไปจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
ในการแต่งเพลง-จะต้องมีคอนเซฟในเรื่องเดียว
-เกมการศึกษา
1.เกมจับคู่ 2.การต่อภาพให้สมบรูณ์ 3.การวางภาพต่อปลาย(หรือโดมิโน) 4.การเรียงลำดับ 5.การจัดหมวดหมู่ 6.การสังเกตรายละเอียดของภาพ(หรือลอตโต) 7.การจับคู่แบบตารางสัมพันธ์ 8.พื้นฐานการบวก 9.การหาความสัมพันธ์ตามลำดับที่กำหนด
-กิจกรรมกลางแจ้ง
เกมเบ็ตเล็ต- การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด เป็นการออกกำลังกายที่ทำให้ร่างกายแข็งแรง ทำให้เกิดความสนุกสนาน มีระเบียบวินัย และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ เช่น เกมน้ำนิ่งน้ำไหล เกมเปลี่ยนคู่ เกมแมวจับหนู เกมแย่งที่
เกมผลัด- การเล่นแบบผลัด เป็นการออกกำลังกายที่ทำเป็นกลุ่ม ซึ่งช่วยให้ผู้เล่นเจริญเติบโตสมวัย มีความสามัคคี มีความรับผิดชอบ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน เช่น เดินผลัดแบบปู วิ่งแข่งซิกแซ็ก วิ่งข้ามเชือกลอกกลับ ที่มาhttp://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=1508
เสรี-การเล่นแบบเสรีตามอิสระ ตามที่เด็กต้องการที่จะเล่น ครูจะต้องอำนวยความสะดวก จัดเตรียมอุปกรณ์
อาจารย์สอนเรื่อง
-ให้วาดรูปสัญลักษณ์ของแต่ละคน
วาดแล้วได้อะไรบ้าง-รูปทรง เส้น ขนาด จำแนกประเภท มิติสัมพันธ์
-ฟังเพลงแมลงปอ 5ตัว
ฟังเพลงแล้วได้รุ้ค่าของจำนวนและทิศทาง นำไปจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
ในการแต่งเพลง-จะต้องมีคอนเซฟในเรื่องเดียว
-เกมการศึกษา
1.เกมจับคู่ 2.การต่อภาพให้สมบรูณ์ 3.การวางภาพต่อปลาย(หรือโดมิโน) 4.การเรียงลำดับ 5.การจัดหมวดหมู่ 6.การสังเกตรายละเอียดของภาพ(หรือลอตโต) 7.การจับคู่แบบตารางสัมพันธ์ 8.พื้นฐานการบวก 9.การหาความสัมพันธ์ตามลำดับที่กำหนด
-กิจกรรมกลางแจ้ง
เกมเบ็ตเล็ต- การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด เป็นการออกกำลังกายที่ทำให้ร่างกายแข็งแรง ทำให้เกิดความสนุกสนาน มีระเบียบวินัย และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ เช่น เกมน้ำนิ่งน้ำไหล เกมเปลี่ยนคู่ เกมแมวจับหนู เกมแย่งที่
เกมผลัด- การเล่นแบบผลัด เป็นการออกกำลังกายที่ทำเป็นกลุ่ม ซึ่งช่วยให้ผู้เล่นเจริญเติบโตสมวัย มีความสามัคคี มีความรับผิดชอบ และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน เช่น เดินผลัดแบบปู วิ่งแข่งซิกแซ็ก วิ่งข้ามเชือกลอกกลับ ที่มาhttp://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=1508
เสรี-การเล่นแบบเสรีตามอิสระ ตามที่เด็กต้องการที่จะเล่น ครูจะต้องอำนวยความสะดวก จัดเตรียมอุปกรณ์
วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่1
วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน 2555
อาจารย์ได้สอนเรื่อง
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-กิจกรรมเสรี
-กิจกรรมสร้างสรรค์
-กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-กิจกรรมกิจกรรมเสริมประสบการณ์
-กิจกรรมกลางแจ้ง
-เกมการศึกษา
เราต้องรู้ในเรื่องใดบ้าง
1.รู้ความหมาย
2.รู้หลักการทางคณิตศาสตร์
3.รู้ถึงพัฒนาการของเด็กในแต่ละวัย
4.ประโยชน์ที่ได้รับ
5.รู้ในเรื่องการทำสื่อ
อาจารย์ได้สอนเรื่อง
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-กิจกรรมเสรี
-กิจกรรมสร้างสรรค์
-กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
-กิจกรรมกิจกรรมเสริมประสบการณ์
-กิจกรรมกลางแจ้ง
-เกมการศึกษา
เราต้องรู้ในเรื่องใดบ้าง
1.รู้ความหมาย
2.รู้หลักการทางคณิตศาสตร์
3.รู้ถึงพัฒนาการของเด็กในแต่ละวัย
4.ประโยชน์ที่ได้รับ
5.รู้ในเรื่องการทำสื่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)