วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกเพิ่มเติม

สรุปงานวิจัย
ชื่อวิจัย  การเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่และรายบุคคล
ผู้วิจัย  สรรพมงคล  จันทร์ดัง
 กลุ่มตัวอย่าง
       เป็นเด็กชาย-หญิง อายุ 5-6 ปี อนุบาลชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2543 ของโรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ อำเภอพบพระ จังหวัดตาก จำนวน 30 คน
คัดเลือกโดย
       1.ทำการจับฉลากห้องเรียนโดยการสุ่มจำนวน 2 ห้อง
       2.นำห้องเรียนที่สุ่มได้มาทำการจับฉลากเพื่อเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
แบบประเมิน
    แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์
สรุปงานวิจัย
      เป็นวิจัยการเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางคณิตศาสตร์แบบรายคู่และรายบุคคล จะเป็นแนวทางให้ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาได้ใช้แนวคิดในการพัฒนาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยให้สอดคล้องและเหมาะสมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและเสริมสร้างเจตคติที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556
ความรู้ที่ได้รับ
เครื่องมือ-การบันทึกเป็นมายแมบ ตารางเปรียบเทียบ
ควรที่จะมีการตั้งเกณฑ์เดียว เช่น นำกล้วยที่มีสีเขียวใส่ตะกร้า
คณิตศาสตร์-คิดอย่างมีเหตุ สามารถนำมาใช้เชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์(จัดตู้ปลา-เซต) ศิลปะ(สมมาตร รูปทรง)
อาจารย์ให้เขียน
-ความรู้ได้อะไรบ้าง
-ได้ทักษะอะไร
-วิธีการสอน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556
ความรู้ที่ได้รับ
 หน่วยเรื่อง อวัยวะภายนอก
วันที่หนึ่ง   
 เด็กๆค่ะอวัยวะภายนอกที่เด็กๆมองเห็นมีอะไรบ้างค่ะ
  เด็กยกมือตอบ เเล้วครูก็จดลงบนกระดาน ตามที่เด็กบอก
              
วันที่สอง
 พูดเรื่องลักษณะ รูปร่าง สี พื้นผิว ของอวัยวะ
  เสร็จเเล้วก็ร่วมกันสรุป
วันที่สาม 
-ร้องเพลง ตาเรามีไว้ดู
ใช้คำถาม ตามีไว้ทำอะไรค่ะ    ดูอะไรได้บ้างค่ะ
หูเรามีไว้ทำอะไรค่ะ  ฟังอะไรได้บ้างค่ะ   บอกครูสิค่ะว่า จมูกมีไว้ทำอะไรค่ะ ปากละค่ะ
  (ทำเป็นเเมป)
ไหนบอกครูสิค่ะว่า อวัยวะของเรามีหน้าที่อะไรกันบ้าง
-สรุป อวัยวะของเรามีหน้าที่เเตกต่างกัน
วันที่สี่  
ประโยชน์ของอวัยวะ (ผลที่จะได้รับ)
  เพื่อนเล่านิทาน เเละก็มาสรุปว่า จมูกดมกลิ่น รู้ว่ากลิ่นหอม (เเยกเเยะกลิ่นได้)
  ถือของ หอบสิ่งของ  สามารถที่จะประกอบอาหารได้
วันที่ห้า 
รักษาความสะอาดของอัวยวะภาพนอก (มีภาพ)
ตา--ผงเข้าตา  ผงเข้าตาให้รีบบอกพ่อ เเม่ เด็กๆทายสิ พ่อ เเม่  จะทำอย่างไร
           
-สรุปตอนท้ายร่วมกับเด็กๆ

วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556
หน่วยเรื่องกระดุม
ชนิด
-นำเสนอโดยการร้องเพลงหลับตา แล้วครูนำภาพกระดุมไปให้เด็กบางคนแล้วให้เด็กเปิดตา ใครที่ได้ภาพกระดุมมาติดทีกระดาน
-กระดุมที่เด็กๆรู้จักมีอะไรบ้าง
-ครูจดบันทึกบนกระดาน
เด็กลองทายสิว่ามีกระดุมทีอยู่ในขวดใสเท่าไร
-เราลองมานับดูสิว่ามีกี่เม็ด วางเรียงแล้วนำตัวเลขมาติด
-แยกกระดุมที่มี1รู กับกระดุมที่มากกว่า1รู
ลักษณะ
-แจกกระดุมให้เด็กดู เด็กคิดว่ากระดุมที่เด็กถือมีพื้นผิวอย่างไร




วันพุธที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 29 มกราคม 2556
คุยเรื่องการจัดกิจกรรมงานกีฬาสีเอกและงานบายเนีย
กิจกรรมงานของคณะ จัดการแสดง
ได้คณิตศาสตร์การจัดกิจกรรมแบบโครงการ
1.การนับจำนวน
รำ 1 คน
ร้องเพลง 1 คน
โฆษณา 2 คน
พิธีกร 2 คน
การแสดงโชว์ 10 คน
ผู้กำกับหน้าม้า 2 คน
หน้าม้า 48 คน
2.เวลา
15.00-15.10  รำ
                      ร้องเพลง
                      โฆษณา
                      
15.00-15.30  พิธีกร
                      แสดงโชว์
                      ลิปซิ้ง
                      เต้นประกอบเพลง
                      ละครใบ้
                      ตลก
3.ตำแหน่งทิศทาง
 การเดินขึ้นเวทีซ้ายขาว
การนั่งเป็นแถว
4.มีแบบรูปของเด็กปฎิบัติเอง
5.รวบรวมข้อมูลและนำเสนอแนะ
6.ประเมินผล

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 22 มกราคม 2556
สอบสอนของแต่ละหน่วย
ขนมไทย
ชนิด
-เด็กๆรู้จักขนมอะไรบ้างค่ะ
-ครูมีขนมมาให้ 3 อย่าง
-แยกเป็น 3 ชนิด ให้เด็กๆแยกเป็นกลุ่ม
-ให้เด็กนับจำนวนขนมแต่ละชนิดมีกี่อัน
ขนมถ้วย 2
ขนมชั้น 3
เม็ดขนุน 5
ลักษณะ
-ส่งเม็ดขนุนให้เด็กๆดูทุกคน
-ครูมีขนมทั้งหมดในถาดเท่าไร นับแล้วนำตัวเลขกำกับ
-แยกประเภทของขนมออกจากกัน
-ครูจะแบ่งเม็ดขนุนครึ่งหนึ่ง แบ่งอีกครึ่ง 4ส่วน ให้เด็กๆชิมคนละชิ้น

หน่วยข้าว
ลักษณะ
-ต้นข้าว ใบข้าว เมล็ดข้าว
-ต้องเป็นเมล็ดข้าว ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า ข้าวเหนียวดำ ข้าวก้อง
-เมล็ดรูปทรงเป็นอย่างไร จับดูสิเป็นอย่างไร
การเก็บรักษา
-เด็กๆทราบไมค่ะว่าข้าวเก็บอย่างไร มีกี่ชนิด
-ถัง กระบุง กระสอบ ยุ้งข้าว
-ครูมีรูปทรงเรขาคณิต

หน่วยกล้วย
ลักษณะ
-รูปกับกล้วย รูปกล้วยหอม
-ส่งกล้วยให้เด็กๆ ดู จับ ดม
-ชิม แบ่งครึ่ง เรียกเด็กมา 2 แบ่งครึ่งอีก 4 แบ่งครึ่งอีก 8 เรียกเด็กมา 8 คน
-บันทึก รสชาติหวาน กลิ่นเหม็น ฟาด
ข้อควรระวังของกล้วย
-ผูกเรื่องเป็นนิทาน
-ต้นกล้วยอยู่หลังบ้าน เดินไปสวนกล้วย ระยะทาง 5เมตร
-เอาไม้มาค้ำให้มันสูงขึ้น
-ล้อมรั้วไม่ให้กล้วยหอม
ขยายพันธ์กล้วย
-ใช้กระดาษวัด ตัดกระดาษเป็นรูปฝ่ามือ ระยะห่างไม่เท่ากันแล้วเปรียบเทียบ
-ทำไมต้องเว้นระยะห่าง
-ในหนึ่งแถวมีกี่ต้น
-แบ่งกลุ่มของใครที่ขยายพันธ์กล้วยได้มากที่สุด แล้วมาขยายพันธ์กล้วย

หน่วยข้าว

                                                            หน่วยกล้วย






วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 15 มกราคม 2556

อาจารย์สอน
สาธิตการสอนเรื่อง ขนมไทย

*งาน*

เตรียมการสอนของหน่วยทุกกลุ่ม



วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 8 มกราคม 2556
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดคณิตศาสตร์
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
- เข้าใจถึงความหลากหลายการแสดงจำนวน
สาระที่ 2 การวัด
- วัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เวลา
สาระที่ 3 เรขาคณิต
- ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
- รูปเรขาคณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
- เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- รวบรวมข้อมูลและนำเสนอ
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
- การเชื่อมโยง

ส่งงานดอกไม้จากแกนทิชชู
นำมาทำสื่อการสอน
เด็กเล่นเอง

จากสื่อสามารถนำมาสอน
-การนับจำนวน
-ขนาด
-เรียงลำดับ
-การอนุรักษ์
-การทำตามแบบ




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 1มกราคม 2556
หยุดวันขึ้นปีใหม่


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 25 ธันวาคม 2555
สอบกลางภาค